วันพฤหัสบดีที่ 1 ธันวาคม พ.ศ. 2559

สรุป วิจัยเรื่องความสามารถในการคิดวิเคราะห์ของเด็กปฐมวัยที่ได้รับการจัดกิจกรรมกระบวนการทางวิทยาศาสตร์นอกห้องเรียน


        การวิจัยนี้เป็นวิจัยเชิงเชิงทดลอง มีจุดมุ่งหมายเพื่อ ศึกษาความสามารถในการคิดวิเคราะห์ของเด็กปฐมวัยที่ได้รับการจัดกิจกรรมกระบวนการทางวิทยาศาสตร์นอกห้องเรียนเพื่อเป็นแนวทางในการใช้วิธีการสอนและการจัดกิจกรรมให้ครูและผู้เกี่ยวข้องกับการพัฒนาเด็กปฐมวัยรวมทั้งส่งเสริมพัฒนาการและศักยภาพของเด็กปฐมวัยได้อย่างถูกต้อง  การจัดกิจกรรมกระบวนการทางวิทยาศาสตร์นอกห้องเรียนเป็นการจัดประสบการณ์อีกทางหนึ่งที่สามารถพัฒนากระบวนการคิดของเด็กปฐมวัยในด้านสติปัญญา เด็กจะได้รับประสบการณ์ตรงเกิดการเรียนรู้ที่หลากหลาย ส่งเสริมให้เด็กได้เรียนรู้โดยลงมือปฏิบัติด้วยตนเอง



สรุป บทความ

   ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ หมายถึง ความสามารถ และความชำนาญในการคิดเพื่อค้นหาความรู้และการแก้ไขปัญหา โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ อาทิ การสังเกต การวัด การคำนวณ การจำแนก และอีกมายมาย

ความสำคัญ
        แสดงถึงการมีกระบวนการคิดอย่างมีเหตุมีผล มีผลตามกระบวนการทางวิทยาศาตร์ ทำให้ผู้เรียนผู้ปฏิบัติเกิดความเข้าใจในเนื้อหาวิทยาศาสตร์

ประเภททักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์มี 13 ทักษะ 2 ระดับ คือ
1.ระดับทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ขั้นพื้นฐาน 8 ทักษะ
2.ระดับทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ขั้นบูรณาการ 5 ทักษะ

ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ขั้นพื้นฐาน 8 ทักษะ
ทักษะที่ 1 การสังเกต
ทักษะที่ 2 การวัด
ทักษะที่ 3 การคำนวณ
ทักษะที่ 4 การจำแนกประเภท
ทักษะที่ 5 การหาความสัมพันธ์ระหว่างสเปสกับสเปสและสเปสกับเวลา
ทักษะที่ 6 การจัดกระทำและการสื่อความหมายข้อมูล
ทักษะที่ 7 การลงความเห็นจากข้อมูล
ทักษะที่ 8 การพยากรณ์

ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาตร์ขั้นบูรณาการ 5 ทักษะ
ทักษะที่ 9 การตั้งสมมุติฐาน
ทักษะที่ 10 การกำหนดนิยามเชิงปฏิบัติการ
ทักษะที่ 11 การกำหนดและควบคุมตัวแปร
ทักษะที่ 12 การทดลอง
ทักษะที่ 13 การตีความหมายข้อมูล


 

วันอังคารที่ 29 พฤศจิกายน พ.ศ. 2559

Tuesday 28 November 2559
   
       วันนี้อาจารย์ได้ให้นักศึกษาที่ยังสอนไม่ครบมาสอนและส่งงานที่ค้างคากัน















หน่วย อากาศ
การสอน คือ คำคล้องจอง และ อากาศเคลื่อนที่ได้อย่างไร



 หน่วย ยานพาหนะ
การสอน คือ พูดถึงยานพาหนะที่เด้กรู้จักและ ให้เด็กนำภาพในกล่องมาแปะติดแผ่นชาจ



หน่วย ดอกไม้
การสอน คือ เล่านิทานให้เด็กฟัง และ ให้ถามเด็กว่ารู้จักดอกไม้ในกล่องนี้ไหม



คำศัพท์
    Gas ก๊าช
    Solar energy พลังงานแสงอาทิตย์
    Flower ดอกไม้
    Car รถ
    A plane เครื่องบิน 

การนำไปประยุกต์ใช้
     สามารถนำไปปรับหรือประยุกต์ใช้ในรายวิชาต่างๆได้

ประเมินผล
     ประเมินตนเอง  เข้าใจในรายละเอียดการเรียนการสอนมากขึ้นค่ะ
     ประเมินเพื่อน  ตั้งใจดูเพื่อนสอนและให้ความร่วมมือดีค่ะ
     ประเมินครูผู้สอน สอดแทรกคุณงามความดีและแต่งการเรียบร้อยมากค่ะ


Tuesday 22 November 2559

       วันนี้อาจารย์ได้บอกให้นักศึกษามารออาจารย์ก่อนเนื่องจากอาจารย์ติดงาน
พอเวลา 09.30 อาจารย์ก็เข้ามาแล้วได้พูดคุยถึงเรื่องการสอบ แนวข้อสอบต่างๆที่ได้สอนมา
แล้วการทำบล็อก ควรจัดให้สวยงาม ภาพควรใช้ภาพนักศึกษาเพราะว่าอาจารย์ไม่สามารถมองออกได้ว่าเป็นใคร จากนั้นอาจารย์จึงได้ให้นั่งตามกลุ่มวิดีโอที่ให้ทำลงยูทูป จึงได้พูดถึงว่าสิ่งประดิษฐ์ที่กลุ่ม
ของตนเองได้ทำขึ้นนั้นสามารถนำไปใช้อะไรได้บ้างในชีวิตประจำวัน เชื่อมโยงกับอะไรได้
และการที่จะเป็นครู บทบาทของครูนั้นต้องสร้างความเชื่อมั่นให้กับเด็ก เปิดโอกาสให้เด็กได้พูดคุย
หรือตอบคำถามจากครู
       การจัดทำของเล่น คือ
ให้เด็กดูอุปกรณ์จากยูทูป - ทบทวน - ดูขั้นตอนการทำ - ครูสาธิตการทำ - ให้เด็กออกมาหยิบอุปกรณ์ - แบ่งกลุ่ม - หัวหน้ากลุ่มออกมาหยิบอุปกรณ์แล้วทำตามขั้นตอน - พอเสร็จเก็บอุปกรณ์ - สมมุติฐาน - ทดลองงานของแต่ล่ะคน(หาประสิทธิภาพ) - ตั้งเกณฑ์การประเมิน - สรุป
       วิทยาศาสตร์ คือ
1.ตั้งประเด็นปัญหา
2.สมมุติฐาน
3. ทดลองเชิงประจักษ์
4.รวบรวม
5.สังเคราะห์
6.สรุป









ทักษะที่ได้รับ
      การคิด
      การวางแผน
      การทำงานเป็นทีม
      ความสามัคคี
      ยอมรับความคิดเห็นผู้อื่น

การนำไปประยุกต์ใช้
      ความรู้ที่เรียนมาทั้งหมดสามารถใช้ในชีวิตประจำวันได้และนำไปบูรณาการในการจัดการเรียนการสอนได้ดีอีกด้วย

ประเมินผล
      ประเมินตนเอง  ได้ความรู้เพิ่มมากขึ้นและเข้าใจมากขึ้นค่ะ
      ประเมินเพื่อน    มีความตั้งใจในการเรียนดีค่ะ
      ประเมินครูผู้สอน สอดแทรกคุณธรรมจริยธรมและเปิดโอกาสให้เด็กถามตลอดค่ะ


วันเสาร์ที่ 19 พฤศจิกายน พ.ศ. 2559

Tuesday 15 November 2559

         เมื่อเข้าห้องเรียนมาแล้วอาจารย์ก็รอให้เพื่อนๆมากันครบก่อน
จากนั้นจึงได้พูดถึงแผนการสอนการจัดกิจกรรมของแต่ล่ะกลุ่มแต่ล่ะหน่วย
ให้ออกมาสอนให้เพื่อนๆได้ดู โดยให้ทุกคนจัดโต๊ะไว้ริมขอบห้องเพื่อที่จะได้
ดูแต่ล่ะกลุ่มจัดการสอน


กลุ่มที่ 1 หน่วย ผลไม้
การสอน คือ มีคำคล้องจอง และ ผลไม้น่ารู้




กลุ่มที่ 2 หน่วย ไข่
การสอน คือ ต่อจิ๊กซอว์และตอกไข่ให้ดม




กลุ่มที่ 3 หน่วยต้นไม้
การสอน คือ คำคล้องจองและ การปลูกถั่วเขียว



กลุ่มที่ 4 หน่วยปลา
การสอน คือ วิธีการทำ วัตถุดิบต่างๆ และ การทอดปลา







ทักษะที่ได้รับ
      การวางแผน
      การคิดยืดหยุ่น
      การคิดเชื่อมโยง
      การทำงานร่วมกัน
      วิธีการสอน

การนำไปประยุกต์ใช้
      นำไปฝึกสอนหรือเอาไปใช้ในการทำงานหรือกิจกรรมต่างๆที่สามารถนำไปบูรณาการได้


ประเมินผล
      ประเมินตนเอง  รู้และเข้าใจมากขึ้น
      ประเมินเพื่อน    ตั้งใจเรียนกันทุกคนและไม่คุยกันเสียงดัง
      ประเมินครูผู้สอน  แต่งกายเรียบร้อยและซักถามนักศึกษาอยู่ตลอด



วันอาทิตย์ที่ 13 พฤศจิกายน พ.ศ. 2559

Tuesday 8 November 2559

           อาจารย์ให้แต่ล่ะกลุ่มนำเสนอวิดีโอที่ให้ไปแก้ไขเมื่ออาทิตย์ที่แล้ว
และก็ได้มาพูดคุยรายละเอียดในการที่จะทำแผนการสอนของแต่ล่ะกลุ่ม
โดยไล่จากวันจันทร์ อังคาร พุธ พฤหัสบดี ศุกร์ ให้ครบทั้ง 5 วัน 
กลุ่มของดิฉันทำเรื่อง หน่วยยานพาหนะ (ข้อควรระวัง)




วัตถุประสงค์
1.เด็กบอกได้ถึงข้อควรระวังในการใช้ยานพาหนะ
2.เด็กรู้และเข้าใจในกฏจราจร

สาระการเรียนรู้
สาระที่ควรเรียนรู้
1.เรื่องราวเกี่ยวกับตัวเด็ก
2.บุคคลและสถานที่
3.ธรรมชาติรอบตัว
4.สิ่งต่างๆรอบตัว

ประสบการณ์สำคัญ
1.การฟังเรื่องราวจากที่ครูเล่า
2.การเล่าเรื่องซ้ำ

กิจกรรมการเรียนรู้
ขั้นนำ
1.นำภาพข้อควรระวังในการใช้ยานพาหนะให้เด็กดู
ขั้นสอน
2.พูดถึงข้อควรระวังในกฏจราจรบนท้องถนน
3.ให้เด็กเล่าถึงภัยบนท้องถนนที่รู้จัก
ขั้นสรุป
4.ครูถามคำถามพร้อมให้เด็กแสดงความคิดเห็นร่วมกัน


การนำไปประยุกต์ใช้
    สามารถนำไปในการฝึกสอนหรือทำกิจกรรมกับเด็กๆได้

ทักษะที่ได้รับ
     การระดมความคิดช่วยกัน
     การวางแผน
     การวิเคราะห์

ประเมินผล
ประเมินตนเอง เข้าใจในการเรียนเพิ่มมากขึ้น
ประเมินเพื่อน   มีความกระตือรือร้นในการเรียน
ประเมินครูผู้สอน  สอนละเอียดและให้นักศึกษาได้โต้แย้งได้ตลอด


วันศุกร์ที่ 4 พฤศจิกายน พ.ศ. 2559

Tuesday 1 November 2559

       เนื้อหาการเรียนการสอน
อาจารย์ได้ให้แต่ล่ะกลุ่มนำเสนอของเล่นของกลุ่มตัวเองที่เอาลงในยูทูป

กลุ่มที่ 1 เรื่อง หลอดมหัศจรรย์


กลุ่มที่ 2 เรื่องรถพลังงานลม


กลุ่มที่ 3 เรื่องคานดีดจากไม้ไอศกรีม


กลุ่มที่ 4 เรื่องขวดน้ำนักขนของ


หลังจากที่เพื่อนแต่ล่ะกลุ่มได้นำเสนอเสร็จสิ้นแล้ว
อาจารย์จึงได้แจกกระดาษให้กลุ่มล่ะ 2 แผ่น
ให้ทำมายแมบเรื่องหน่วยของกลุ่มเราแล้วสามารถนำไปบูรณาการในด้านใดบ้าง 
ส่วนอีกแผ่นให้คิดกิจกรรมต่างๆทั้ง 6 กลุ่มสาระ




การนำไปบูรณาการ 6 กลุ่มสาระ
สาระคณิตศาสตร์
สาระวิทยาศาสตร์
สาระภาษา
สาระสังคมศึกษา
สาระศิลปะ
สาระสุขศึกษาและพลศึกษา

กิจกรรม 6 กิจกรรมหลัก
กิจกรรมเคลื่อนไหวและจังหวะ
กิจกรรมเสริมประสบการณ์
กิจกรรมสร้างสรรค์
กิจกรรมเสรี
กิจกรรมกลางแจ้ง
กิจกรรมเกมการศึกษา


ทักษะที่ได้รับ
คิดไตรตรองให้รอบคอบ
คิดให้ละเอียด
การวางแผน

การนำไปประยุกต์ใช้
นำไปเขียนแผนการสอนที่จะใช้กับเด็กปฐมวัยและเสริมสร้างประสบการณ์เดิม

ประเมินผล
ประเมินตนเอง เรียนรู้และเข้าใจเนื้อหามากขึ้น
ประเมินเพื่อน มีความกระตือรือร้นในการทำงาน
ประเมินอาจารย์ ให้ความรู้อย่างละเอียดและแต่งกายเรียบร้อยค่ะ



Tuesday 25 October 2559

      เนื้อหาการเรียนการสอน
อาจารย์พูดคุยกับนักศึกษาเกี่ยวกับมรรยาทและการมีจิตสำนึกรู้ว่าเราเรียนอะไร เราเป็นครูเราควร
ทำตามกฏระเบียบของครูเพราะว่าเป็นคณะครู เป็นคณะที่ศักดิ์สิทธิ์มากนักเราควรเป็นแบบอย่างที่ดี
ให้กับลูกศิษย์และเพื่อประเทศชาติ หลังจากนั้นก็เข้าบทเรียน จากงานที่ได้เอาไปแก้ไขจากอาทิตย์ที่แล้ว
ของแต่ล่ะกลุ่ม

กลุ่มที่ 1 หน่วยต้นไม้


กลุ่มที่ 2 หน่วยผลไม้


 กลุ่มที่ 3 หน่วยปลา
         











กลุ่มที่ 4 หน่วยยานพาหนะ
                                        






กลุ่มที่ 5 หน่วยไข่


กลุ่มที่ 6 อากาศรอบตัวฉัน


กลุ่มที่ 7 หน่วยดอกไม้



มาตราฐานการเรียนรู้วิทยาศาสตร์

สาระที่ 1 สิ่งมีชีวิตกับกระบวนการดำรงชีวิต
สาระที่ 2 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
สาระที่ 3 สารและสมบัติของสาร
สาระที่ 4 แรงและการเคลื่อนที่
สาระที่ 5 พลังงาน
สาระที่ 6 กระบวนการเปลี่ยนแปลงของโลก
สาระที่ 7 ดาราศาสตร์และอวกาศ
สาระที่ 8 ธรรมชาติของวิทยาศาตร์และเทคโนโลยี


ทักษะที่ได้รับ
การคิด วิเคราะห์ แยกแยะ
การคิดเชื่อมโยง
การคิดวางแผน

การนำไปประยุกต์ใช้
สามารถนำไปใช้ในการฝึกสอนหรือนำไปบูรณาการทางด้านวิชาการต่างๆได้

ประเมินผล
ประเมินตนเอง  เข้าใจและปฏิบัติตามได้
ประเมินเพื่อน  สนุกสนานกับการเรียน
ประเมินอาจารย์  เปิดโอกาสให้ถามได้ตลอดเวลา



วันจันทร์ที่ 24 ตุลาคม พ.ศ. 2559

Tuesday 18  October 2559

      การเรียนการสอน
การจัดประสบการณ์ทางวิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
เป็นการจัดกิจกรรมที่มุ่งให้เด็กได้รับประสบการณ์ตรง
ได้เรียนรู้เกี่ยวกับสิ่งต่างๆ ที่อยู่รอบตัวเด็ก และได้สังเกต ทดลองด้วยตนเอง
การเรียนรู้เรื่องปรากฏการณ์ธรรมชาติ ต้องอาศัยทักษะพื้นฐาน
วิทยาศาสตร์ที่เด็กมีอยู่ในตนเอง






















   อาจารย์ได้ให้แต่ล่ะกลุ่มนำของเล่นที่ให้นำกลับไปแก้ไขมาส่งใหม่
เพื่อที่จะตรวจสอบก่อนจะนำไปให้เด็กปมวัยใช้เป็นการเรียนรู้ในทักษะต่างๆทางการศึกษา
       จากนั้นก็ให้แบ่งกลุ่มกลุ่มล่ะ 5 คน



เพื่อจะให้แต่ล่ะกลุ่มเลือกหน่วยการสอนมากลุ่มล่ะหน่วยแล้วช่วยกันทำมายแมบในการที่จะไปสอน
เด็กปฐมวัย โดยกลุ่มของดิฉันมีหัวข้อดังนี้
หน่วย ยานพาหนะ
1. ประเภท
2. ลักษณะ
3. ปัจจัยที่ทำให้เกิด
4. ประโยชน์
5. ข้อควรระวัง

เมื่อแต่ล่ะกลุ่มได้ร่างแบบเสร็จแล้วอาจารย์จึงให้นำมายแมบของกลุ่มตัวเองมาแปะหน้าห้องและตามกำแพงห้องเรียนเพื่อจะได้เรียนรู้ไปพร้อมๆกันและเพิ่มเติมสิ่งต่างๆเข้าไป








ทักษะที่ได้รับ
     - การเขียนหัวกลมตัวเหลี่ยม
     - การวางแผน
     - การตาดคะเน
     - การคิด
     - การออกแบบ

การนำไปประยุกต์ใช้
      สามารถนำสิ่งที่ได้คิดได้ทำไปสอนเด็ก
      และสามารถนำไปบูรณาการได้ในหลายๆรายวิชาต่างๆที่เรียน

ประเมินผล
     ประเมินตนเอง  เรียนรู้ในสิ่งที่ยังไม่เข้าใจได้เข้าใจอย่างละเอียดมากขึ้น
     ประเมินเพื่อน   มีความเข้าใจและไม่งงกับเนื้อหาการเรียน
     ประเมินครูผู้สอน   อธิบายเนื้อหาให้นักศึกษาได้เข้าใจอย่างละเอียด





วันเสาร์ที่ 15 ตุลาคม พ.ศ. 2559

Tuesday  11 October  2559

การเรียนการสอน
      วันนี้อาจารย์ได้แจกกระดาษเออสี่ให้คนล่ะแผ่น
เพื่อให้นักศึกษาทุกคนเขียนวิธีการทำของเล่นที่ตัวเองได้ทำขึ้น
หลังจากนั้นให้นำมาแปะหน้ากระดาษ



หลังจากที่นักศึกษาเขียนเสร็จกันหมดแล้ว
อาจารย์จึงได้ให้แบ่งกลุ่ม กลุ่มล่ะ 8 คน
แล้วให้เลือกของเล่นใครคนหนึ่งที่คิดว่าสามารถนำไปบูรณาการเด็กได้
มาประดิษฐ์เพื่อจะได้นำไปใช้ทำกิจกรรมกับเด็กๆ



กลุ่มของเราได้เลือก ที่ยิงบอลจากไม้ไอติม
เพราะเด็กสามารถทำได้และสะดวกต่อการหาอุปกรณ์การทำ



ภาพการนำเสนอของแต่ล่ะกลุ่ม

กลุ่มที่  1 ยิงบอลจากไม้ไอติม



กลุ่มที่  2 เครื่องเป่าลม



กลุ่มที่ 3 รถพลังลม



กลุ่มที่ 4 ขวดน้ำหนักขนของ




ทักษะที่ได้รับ
     การออกแบบของเล่น
     การคิดวิเคราะห์
     การวางแผน
     การระดมความคิด
     ความสามัคคี
     

การนำไปประยุกต์ใช้
     สามารถใช้ในการจัดทำกิจกรรมกับเด็กปฐมวัย
     บูรณาการทางทักษะต่างๆได้
     เป็นสื่อการสอนทางวิทยาศาสตร์


ประเมินผล
   ประเมินตนเอง  เข้าใจในเนื้อหามากขึ้นและสามารถนำไปใช้ในชีวิตประจำวันได้
   ประเมินเพื่อน    สนุกสนานกับการเรียนและแสดงความคิดเห็นดีงามค่ะ
   ประเมินครูผู้สอน   เปิดโอกาสให้นักศึกษาได้ซักถามตลอดค่ะ




Tuesday 4 October 2559


ไม่ได้มาเรียน เนื่องจากป่วยเป็นไข้ทับฤดู


...................................................................................................................................................................

วันเสาร์ที่ 8 ตุลาคม พ.ศ. 2559

วันที่ 26-30 กันยายน 2559


สัปดาห์สอบกลางภาค

ไม่มีการเรียนการสอน

..........................................................................

Tuesday 20 September 2559

       การเรียนการสอน
วันนี้อาจารย์ได้แจกกระดาษคนล่ะเเผ่นเพื่อที่จะคัดลายมือ ก ถึง ฮ โดยให้นักศึกษาได้ฝึกเขียนบ่อยๆ
จะได้คล่องในการเขียนอีก




เรื่อง สมบัติของอากาศ
อากาศเป็นสลาร จึงมีมวลต้องการที่อยู่ มวลของอากาศจะเท่ากับผลรวมของมวลของก๊าวต่างๆ
ในอากาศ และมวลของอนุภาคที่แขวนลอยอยู่ในอากาศรวมกัน มวลของอากาศสามารถเปลี่ยนแปลง
ในทิศทางที่เพิ่มขึ้นหรือลดลงก็ได้

สมบัติของอากาศที่สำคัญ
1.ความหนาแน่นของอากาศ
2.ความดันของอากาศ
3.ความชื้น



หลังจากที่คัดลายเสร็จอาจารย์ก็ได้ให้นักศึกษานำของเล่นที่เตรียมมามานำเสนอว่าเกี่ยวกับเรื่องอากาศหรือเรื่องแรงอย่างไร







จากที่แต่ล่ะกลุ่มพรีเซ็นของเล่นเสร็จ อาจารย์ก็แจกกระดาษเอสี่คนล่ะแผ่น แล้วให้วาดรูปมือตัวเองลงไปบนกระดาษแล้วใช้สีขีดตามรอยมือแล้วใช้อีกสีขีดเป็นเส้นลายมือแล้วใช้อีกสีขีดติดกับเส้นแรก








อีกทั้งยังแจกกระดาษอีกแผ่นให้ 4 คนต่อ 1 แผ่น ให้พับครึ่งสองครั้ง
 แล้วตัดเป็นรูปหัวใจแล้วคลี่ออกมานำสีเมจิกมาวาดวงกลมตรง
กลางแล้วพับมุมทุกด้านจึงนำไปลอยน้ำแล้วสังเกตว่ากระดาษจะค่อยๆคลี่ออกมา ดังภาพ









กิจกรรมต่อมา อาจารย์ได้ทำการทดลองของน้ำโดยมีภาพ ดังนี้







หลังจากทำการทดลองเสร็จ อาจารย์ก็ให้นักศึกษาส่งงานประดิษฐ์ที่ให้ไปทำอาทิตย์ที่แล้ว




ทักษะที่ได้รับ
      การทดลอง
      การสังเกต
      การคาดคะเน
      การเปรียบเทียบ
      การสงสัย


การนำไปประยุกต์ใช้
      ใช้สอนหรือสามารถนำไปบูรณาการในรายวิชาต่างๆได้อย่างดี


ประเมินผล
      ประเมินตนเอง  รู้และเข้าใจในเนื้อหาดีขึ้นค่ะ
      ประเมินเพื่อน    มีการนำเสนอความคิดเห็นหรือการสักถามต่างๆ
      ประเมินครูผู้สอน  อาจารย์มีการอัดความรู้ให้นักศึกษาได้อย่างเน้นมากค่ะ